NCDs School
Facebook หมอชาวบ้าน Youtube หมอชาวบ้าน

< กลับหน้าโมดูล

คอร์ส โรคไต

โมดูลที่ 1 - ความรู้พื้นฐาน

บทเรียนที่ 2 - รู้จักโรคไต


โรคไตมี 2 ชนิด คือ

  • ไตวายเฉียบพลัน คือการที่ไตสูญเสียความสามารถเนื่องมาจากความเจ็บป่วย ความบาดเจ็บ หรือได้รับสารพิษบางชนิด
  • ไตวายเรื้อรัง คือการที่ไตค่อยๆ สูญเสียความสามารถในการทำงานอย่างช้าๆ ซึ่งมี 5 ระดับ โดยระดับที่ 5 คือการที่ไตไม่สามารถทำงานได้อีกต่อไป

เราวัดจากระดับความสามารถในการกรองของเสียหรือที่เรียกว่าค่า GFR โดยแบ่งได้เป็น 5 ระดับ ดังนี้

  • ระดับที่ 1 ค่า GFR 90 หรือมากกว่าและมีโปรตีนในปัสสาวะถือว่าไตเริ่มเสื่อม
  • ระดับที่ 2 ค่า GFR 60-89 และมีโปรตีนในปัสสาวะเป็นโรคไตเรื้อรังขั้นแรก
  • ระดับที่ 3 ค่า GFR30-59 เป็นโรคไตเรื้อรังขั้นกลาง
  • ระดับที่ 4 ค่า GFR 15-29 เป็นโรคไตเรื้อรังขั้นรุนแรง เตรียมตัวเข้าสู่กระบวนการทดแทนไป
  • ระดับที่ 5 ค่า GFR ต่ำกว่า 15 ไตวาย เข้าสู่กระบวนการทดแทนไต

กว่าจะเปลี่ยนจากโรคไตเรื้อรังมาถึงขั้นไตวายนั้น ต้องใช้เวลาไม่ใช่ว่าไตจะวายหรือการสูญเสียการทำงานของไตไปในทันทีทันใด ดังนั้นหลายคนจึงอยู่กับโรคไตเรื้อรัง โดยไม่เข้าสู่ขั้นไตวายระดับ 5 ได้ และยิ่งเจอเร็วทางเลือกในการดูแลรักษายิ่งมีมาก

ภาพประกอบบทเรียน



คุณได้สะสม 0 แต้มกิจกรรม [ เริ่มสะสมใหม่ ]

สำหรับคอร์สโรคไต สะสมครบ 21 แต้ม เพื่อรับประกาศนียบัตรหลักสูตร NCDs School รู้เรื่องโรคไต จากมูลนิธิหมอชาวบ้าน

กติกา

  • ทำกิจกรรมท้ายบทเรียน ถ้าทำถูกกิจกรรมใดจะได้คะแนน 1 แต้ม (ทำถูกข้อเดิมไม่ได้คะแนนเพิ่ม)
  • คะแนนจะถูกลบเมื่อท่านปิดหน้าต่างบราวเซอร์ หากต้องการสะสมเพื่อให้ได้ประกาศนียบัตร กรุณาทำให้เสร็จในการเรียนครั้งเดียว
  • คะแนนที่สะสมเป็นของคอมหรือมือถือเครื่องนั้นๆ ผู้สะสมคนเดิมหากเปลี่ยนเครื่องจะต้องเริ่มสะสมใหม่

สารบัญ

โรคไต ความรู้พื้นฐาน รู้จักไต รู้จักโรคไต สาเหตุของโรคไต อาการของโรคไต ความจริงจากเพื่อน แนวทางการรักษาไต ไตวาย ทำอย่างไร? ไตวาย เป็นอย่างไร สิทธิการรักษา เปรียบเทียบ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม กับ การล้างไตช่องท้อง อาหารการกิน ควบคุมอาหารไว้ ได้พลังงานพอ กินโปรตีนให้เหมาะ ระวังโปแตสเซียม เลี่ยงอาหารโซเดียมสูง เคล็ดลับในการคุมโซเดียม ควบคุมฟอสฟอรัส ควบคุมของเหลวที่นำเข้าร่างกาย ใส่ใจปรุงอาหาร ออกกำลังกาย ท่าออกกำลังกาย ท่ายืดเหยียด ออกกำลังกายต้องระวังอะไรบ้าง? เรื่องจริงจากเพื่อน คุณธนพลธ์ ดอกแก้ว พ.อ. หญิง นภชา บุณยรักษ์ คุณสรนันท์ ภูมิอ่อน