NCDs School
Facebook หมอชาวบ้าน Youtube หมอชาวบ้าน

< กลับหน้าโมดูล

คอร์ส โรคไต

โมดูลที่ 3 - อาหารการกิน

บทเรียนที่ 2 - ได้พลังงานพอ


ได้พลังงานพอ

คาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญให้เราทำกิจกรรมต่างๆ ได้

ซึ่งคาร์โบไฮเดรต สำหรับโรคไตนั้น แบ่งง่ายๆเป็น 2 กลุ่ม คือ คาร์โบไฮเดรตที่มีโปรตีน และคาร์โบไฮเดรตที่ไม่มีโปรตีน

คาร์โบไฮเดรตกลุ่มที่มีโปรตีน

เช่น

  • ข้าวสุก
  • ข้าวเหนียว
  • เส้นหมี่
  • เส้นเล็ก
  • เส้นใหญ่

คาร์โบไฮเดรตกลุ่มที่ไม่มีโปรตีน

เช่น

  • วุ้นเส้น
  • สาคูสุก
  • ก๋วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้สุก
  • เส้นสลิ่ม

ผู้เป็นโรคไต ควรกินคาร์โบไฮเดรตในปริมาณที่พอเหมาะ เพราะจะต้องควบคุมระดับโปรตีนที่ได้รับด้วย นอกจากนี้คาร์โบไฮเดรตบางชนิดก็จะมีแร่ธาตุและสารอาหารอื่นๆอยู่ เช่น โปแตสเซียม โซเดียม ฟอสฟอรัส

ดังนั้นจึงต้องคอยระวังระดับสารอาหารเหล่านี้เช่นกัน รวมถึงใครมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง ก็ควรควบคุมด้วย




คุณได้สะสม 0 แต้มกิจกรรม [ เริ่มสะสมใหม่ ]

สำหรับคอร์สโรคไต สะสมครบ 21 แต้ม เพื่อรับประกาศนียบัตรหลักสูตร NCDs School รู้เรื่องโรคไต จากมูลนิธิหมอชาวบ้าน

กติกา

  • ทำกิจกรรมท้ายบทเรียน ถ้าทำถูกกิจกรรมใดจะได้คะแนน 1 แต้ม (ทำถูกข้อเดิมไม่ได้คะแนนเพิ่ม)
  • คะแนนจะถูกลบเมื่อท่านปิดหน้าต่างบราวเซอร์ หากต้องการสะสมเพื่อให้ได้ประกาศนียบัตร กรุณาทำให้เสร็จในการเรียนครั้งเดียว
  • คะแนนที่สะสมเป็นของคอมหรือมือถือเครื่องนั้นๆ ผู้สะสมคนเดิมหากเปลี่ยนเครื่องจะต้องเริ่มสะสมใหม่

สารบัญ

โรคไต ความรู้พื้นฐาน รู้จักไต รู้จักโรคไต สาเหตุของโรคไต อาการของโรคไต ความจริงจากเพื่อน แนวทางการรักษาไต ไตวาย ทำอย่างไร? ไตวาย เป็นอย่างไร สิทธิการรักษา เปรียบเทียบ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม กับ การล้างไตช่องท้อง อาหารการกิน ควบคุมอาหารไว้ ได้พลังงานพอ กินโปรตีนให้เหมาะ ระวังโปแตสเซียม เลี่ยงอาหารโซเดียมสูง เคล็ดลับในการคุมโซเดียม ควบคุมฟอสฟอรัส ควบคุมของเหลวที่นำเข้าร่างกาย ใส่ใจปรุงอาหาร ออกกำลังกาย ท่าออกกำลังกาย ท่ายืดเหยียด ออกกำลังกายต้องระวังอะไรบ้าง? เรื่องจริงจากเพื่อน คุณธนพลธ์ ดอกแก้ว พ.อ. หญิง นภชา บุณยรักษ์ คุณสรนันท์ ภูมิอ่อน